วิเคราะห์เหรียญกษาปณ์ เหรียญ 25,50 สตางค์ 1,2,5 บาท ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM
และเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS
เคยสงสัยกันไหมว่าเหรียญกษาปณ์ ที่เราใช้กันอยู่ทำมาจากวัสดุใดกัน และมีส่วนผสมอะไร
บ้างและเท่าไร
บทความนี้ เราจะนำเหรียญกษาปณ์ ขนาดเหรียญ 25,50 สตางค์ 1,2,5 บาท มาวิเคราะห์
เหรียญที่นำมาเป็นเหรียญเก่าผ่านการใช้งานมานาน การวิเคราะห์ธาตุจะได้ค่าเชิงปริมาณต่าง
จากเหรียญใหม่เล็กน้อย
และเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS
เคยสงสัยกันไหมว่าเหรียญกษาปณ์ ที่เราใช้กันอยู่ทำมาจากวัสดุใดกัน และมีส่วนผสมอะไร
บ้างและเท่าไร
บทความนี้ เราจะนำเหรียญกษาปณ์ ขนาดเหรียญ 25,50 สตางค์ 1,2,5 บาท มาวิเคราะห์
เหรียญที่นำมาเป็นเหรียญเก่าผ่านการใช้งานมานาน การวิเคราะห์ธาตุจะได้ค่าเชิงปริมาณต่าง
จากเหรียญใหม่เล็กน้อย
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน (Circulated coins)
เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มี 9 ชนิดราคา คือ 10 บาท,
5 บาท, 2 บาท, 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ 1 สตางค์
แต่ที่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ 10 บาท, 5 บาท, 2 บาท, 1 บาท,
50 สตางค์, 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ1 สตางค์ มีใช้ใน
ทางบัญชีเท่านั้น
ดูบทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์เหรียญกษาปณ์ เหรียญสิบบาท 10 บาท คลิก
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด25 สตางค์ ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มี 9 ชนิดราคา คือ 10 บาท,
5 บาท, 2 บาท, 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ 1 สตางค์
แต่ที่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ 10 บาท, 5 บาท, 2 บาท, 1 บาท,
50 สตางค์, 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ1 สตางค์ มีใช้ใน
ทางบัญชีเท่านั้น
ดูบทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์เหรียญกษาปณ์ เหรียญสิบบาท 10 บาท คลิก
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด25 สตางค์ ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ25 สตางค์ ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด 50 สตางค์ ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 50 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 50 สตางค์ ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 50 สตางค์ ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด 1 บาท ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 1 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 1 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 1 บาท ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด 2 บาท ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 2 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 2 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 2 บาท ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาด 5 บาท ด้านหลัง
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 5 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 5 บาท ด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพเป็นภาพเหรียญ 5 บาท ด้านหลัง (ตำแหน่งวิเคราะห์ธาตุ)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์)
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
วิเคราะห์เหรียญด้านหลัง Coin Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX
วิเคราะห์เหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงในเชิงคุณภาพ Qualitative Analysis
ตามภาพบนที่กำลังขยาย 500 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง
บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก
กราฟเชิงคุณภาพเหรียญ 25 สตางค์ ตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x500
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Si ซิลิกอน และ
Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
กราฟเชิงคุณภาพเหรียญ 50 สตางค์ ตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x500
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน และ Cu ทองแดง
อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน และ Cu ทองแดง
อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
กราฟเชิงคุณภาพเหรียญ 1 บาท ตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x500
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Al อลูมิเนียม
,Si ซิลิกอน, Ne นีออน และ Ni นิเกิล อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
,Si ซิลิกอน, Ne นีออน และ Ni นิเกิล อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
กราฟเชิงคุณภาพเหรียญ 2 บาท ตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x500
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Al อลูมิเนียม
,Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Al อลูมิเนียม
,Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
กราฟเชิงคุณภาพเหรียญ 5 บาท ตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x500
เราจะได้ผลว่าเหรียญ 5 มีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน
,Mn แมงกานีส ,Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
,Mn แมงกานีส ,Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านล่าง
จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เราทราบแล้วว่ามีธาตุอะไรบ้าง แต่ยังไม่ทราบว่า
มีปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ
มีปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ
วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic%
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic%
บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก
ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ
Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
Analysed all elements and normalised results.
ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอใน
เหรียญ 25 สตางค์ ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร
C คาร์บอน 4.52 % ,O ออกซิเจน 3.20 % ,Si ซิลิกอน 0.16 %
และ Cu ทองแดง 92.12 %
ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอใน
เหรียญ 25 สตางค์ ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร
C คาร์บอน 4.52 % ,O ออกซิเจน 3.20 % ,Si ซิลิกอน 0.16 %
และ Cu ทองแดง 92.12 %
เหรียญ 50 สตางค์ ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร เป็นปริมาณเท่ากับภาพล่าง
เหรียญ 1 บาท ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร เป็นปริมาณเท่ากับภาพล่าง
เหรียญ 2 บาท ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร เป็นปริมาณเท่ากับภาพล่าง
เหรียญ 5 บาท ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร เป็นปริมาณเท่ากับภาพล่าง
ดูบทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์เหรียญกษาปณ์ เหรียญสิบบาท 10 บาท คลิก
*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl
*********************************************************************
เหรียญ25สตางค์,เหรียญ50สตางค์,เหรียญกษาปณ์,เงินเหรียญ,เหรียญ 1บาท,เหรียญ 2บาท,
เหรียญ 5บาท,Coin,Thai Coin,วิเคราะห์เหรียญ,Coin analysis
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl
*********************************************************************
เหรียญ25สตางค์,เหรียญ50สตางค์,เหรียญกษาปณ์,เงินเหรียญ,เหรียญ 1บาท,เหรียญ 2บาท,
เหรียญ 5บาท,Coin,Thai Coin,วิเคราะห์เหรียญ,Coin analysis
บทความน่าสนใจอื่นๆ
ที่เกียวข้องกับกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM และเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS,EDX คลิกค่ะ
ที่เกียวข้องกับกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM และเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS,EDX คลิกค่ะ
สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด