วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2556

เกลือทะเลหรือ เกลือสมุทร (Sea Salt)

เกลือทะเลหรือ เกลือสมุทร (Sea Salt)

เกลือสมุทร เหมาะสำหรับใช้บริโภคเพราะมีไอโอดีนอยู่โดยไม่ต้องผสมสารไอโอดีนเข้า
ไปเหมือนเกลือสินเธาว์ ร่างกายต้องการไอโอดีนประมาณ75 มิลลิกรัมต่อปี เมื่อได้รับ
ไอโอดีนร่างกายจะนำไปเก็บไว้ในต่อมไทรอยด์ ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมสมอง ประสาท และ
เนื้อเยื่อต่างๆ

ข้อดีของเกลือทะเลหรือ เกลือสมุทร (Sea Salt) จะมีไอโอดีน (I)  ถ้าขาดไอโอดีนจะเป็น
โรคคอพอก และถ้าขาดตั้งแต่ยังเด็ก ร่างกายจะแคระแกร็น สติปัญญา ต่ำ หูหนวก เป็นใบ้
ตาเหล่และอัมพาต

ข้อเสียของเกลือทะเล เกลือสมทรไม่เหมาะใช้ในการอุตสาหกรรม เพราะมีความชื้น และ
แมกนีเซียม
 (Mg) แคลเซียม (Ca) ค่อนข้างสูง
จึงเป็นที่มาของบทความนี้ ที่เราจะศึกษาหาองค์ประกอบของธาตุ ไอโอดีน และศึกษาองค์
ประกอบธาตุ NaCl โซเดียมครอไรด์ (เกลือแกง) ด้วย เครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX และ
ศึกษาผลึกเกลือด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป SEM


ลักษณะผลึกเกลือแบบต่างๆที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM กำลังขยายสูง



เกลือสมุทรทำกันมากในบริเวณใกล้ทะเล เช่น ที่จังหวัดสมุทรสาคร เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา
และชลบุรี โดยมากทำนาเกลือปีละ 2 ครั้ง ในประเทศไทยจะมีอากาศแห้งแล้งติดต่อกัน
ประมาณครึ่งปี ดังนั้น การทำนาเกลือจึงเริ่มทำตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนพฤษภาคม
หากปีใดฝนตกชุกในระยะดังกล่าวการทำนาเกลือจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร

ตามภาพเป็นภาพเกลือ Salt 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่างเกลือ Salt ไม่ได้ฉาบเคลือบด้วยทอง
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพเป็นภาพเกลือ Salt 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่างเกลือ Salt ไม่ได้ฉาบเคลือบด้วยทอง
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเกลือ Salt 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่างเกลือ Salt ไม่ได้ฉาบเคลือบด้วยทอง
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพเป็นภาพเกลือ Salt 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 350 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่างเกลือ Salt ไม่ได้ฉาบเคลือบด้วยทอง
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


หลังจากดูภาพแล้ว เราจะเห็นลักษณะผลึกเกลือ รูปร่างเกลือ อยู่ลักษณะใดกันบ้างแล้ว
แต่เราไม่ทราบว่ามีองค์ประกอบธาตุอะไรกันบ้าง และแต่ละธาตุมีปริมาณเท่าใด
เราจะวิเคราะห์กันต่อครับเพื่อหาคำตอบ ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ/คุณภาพ

วิเคราะห์เกลือ Salt Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX 
วิเคราะห์เกลือเชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 


ตามภาพบนที่กำลังขยาย 350 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Ca แคลเซียม ,
Cl ครอรีน ,Zn สังกะสี,Cu ทองแดง ,K โปรแตสเซียม ,I ไอโอดีน ,S ซัลเฟอร์,
Si ซิลิกอน,Mg แมกนีเซียม และ Na โซเดียม อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพ
ด้านบน

เราจะพบว่าสารและธาตุอาหารจะมีมากกว่าเกลือสินเธาว์ ดูบทความเกลือสินเธาว์

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 1
กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 2


จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เราทราบแล้วว่ามีธาตุอะไรบ้าง แต่ยังไม่ทราบว่า  มี
ปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ

วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis  

การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic% 


ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ

Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
Analysed all elements and normalised results.
ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในเกลือ ซึ่งเราจะได้
องค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน 9.58% ,O ออกซิเจน 27.10%,Ca แคลเซียม
0.33% ,Cl ครอรีน 32.77% ,Zn สังกะสี 0.44%,Cu ทองแดง 0.71% ,
K โปรแตสเซียม 1.03% ,I ไอโอดีน 0.05% ,S ซัลเฟอร์ 1.28% ,
Si ซิลิกอน 0.19% ,Mg แมกนีเซียม 3.19% และ Na โซเดียม 22.87%

ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ 
Quantitative method: ZAF ( 3 iterations).
 Analysed elements combined with: O ( Valency: -2)
 Method : Stoichiometry Normalised results.
 Nos. of ions calculation based on  1 cations per formula.

(Condition เดียวกันกับด้านบนแต่เปลี่ยน Method ) 
จะได้ ค่าธาตุ อยู่ในรูปแบบคอมพาวด์ออกไซด์Compound % การอ่านผลยกตัวอย่าง
จะได้ปริมาณ แคลเซียมออกไซด์ CaO 0.36% ค็อปเปอร์ออกไซด์ CuO 0.70%และแมกนีเซียมออกไซด์ 4.28%


การวิเคราะห์ดูการกระจายตัว แบบ Speed Mapping (เชิงคุณภาพ) ากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากเราเลือกใช้วิเคราะห์ทั้งภาพ(Area) 
ไม่ได้เลือกใช้วิธียิงเป็นจุด (Point) ทำให้ผลที่ได้คือผลที่ได้ทั้งหมดที่เราเห็นตามภาพ ถ้า 
เราจะใช้วิธีการยิงเป็นจุด เพือจะให้ทราบตำแหน่งธาตุก็ได้ แต่อาจจะต้องยิงหลายจุด จะมีวิธี
การหาตำแหน่งของธาตุแบบรวดเร็ว ดูการกระจายตัว เช็คเพสที่เรียกว่า Mapping ตามผล 

ด้านล่างเราก็จะทราบ ตำแหน่งแต่ละธาตุว่าอยู่ส่วนใหนของตัวอย่างได้

ตามภาพล่างนี้ที่กำลัง x350 เราจะมาดูการกระจายตัวด้วยการทำ Mapping


การอ่านผล ยกตัวอย่างตรงตำแหน่งภาพช่อง O ออกซิเจน เราพบว่าตรงตำแหน่งสีสว่างมากตาม
ภาพเป็นสีเหลืองจะมี O ออกซิเจน มากรองลงมาสีเขียว สีฟ้า น้ำเงินมีปริมาณน้อยมาก ส่วนสีดำ
ไม่มี O ออกซิเจน 
บทความที่เกี่ยวข้องและการดูผล : การทำ Mapping แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คลิกค่ะ
*** ภาพแสดงในเว็บขนาด 580x355 ส่วนภาพจริงจะมีขนาด 1024x520


 
วิเคราะห์ธาตุกับตัวอย่างที่เป็นเกลือสมุทร ที่มีไอโอดีน โดยที่ไม่ต้องเพิ่ม เสริมเข้า
ไป
เหมือนเกลือสินเธาว์ และยังพบว่ามีธาตุและสารอาหารมากกว่าเกลือสินเธาว์
ดูบทความที่เกี่ยวข้อง บทความเกลือสินเธาว์

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl

********************************************************************* 
เกลือ,เกลือสมุทร,เกลือทะเล,วิเคราะห์เกลือ,ทดสอบเกลือ,salt analysis,salt,NaCl,โซเดียมครอไรด์



สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด

วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556

มอสส์ Moss ความมหัศจรรย์ต้นมอสส์จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ

มอสส์ Moss ความมหัศจรรย์ต้นมอสส์จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ

มอสส์เป็นพืชขนาดเล็ก มีขนาด 0.5-10 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับสายพันธุและสถานที่เกิด
บางชนิดจะมีขนาดใหญ่ 10 เซนติเมตร มักเกิดสถานที่มีความชื้นสูง ตามพื้นดิน หิน ตาม
ต้นไม้ขนาดใหญ่

ตามภาพล่างเป็นมอสส์ที่เกิดบริเวณใต้ต้นหางกระรอก ที่มีความชื้นสูง ถ้าเทียบกับหญ้า
มาเลย์ตามภาพแล้ว มอสส์จะมีขนาดเล็กมาก


การถ่ายภาพมอสส์ ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป SEM เราจะถ่ายกัน 2 โหมด

1. ถ่ายในโหมด LV SEM ตัวอย่างสด ชื้น และไม่นำไฟฟ้า
2. ถ่ายในโหมด HV SEM ตัวอย่างแห้ง ไม่ชื้น และตัวอย่างจะต้องนำไฟฟ้า

แบบแรก Low Vacuum (LV SEM) 

ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 350 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 750 เท่า สเกล 10 um (ไมครอน ) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ มอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ตัวอย่าง มอสส์แบบสด มีความชื้น ไม่นำไฟฟ้า
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


แบบสอง High Vacuum (HV SEM) 

ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมครอน ) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ต้นมอสส์
กำลังขยาย x 750 เท่า สเกล 10 um (ไมครอน ) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ตัวอย่าง ต้นมอสส์ฉาบเคลือบด้วยทอง,ให้นำไฟฟ้าได้ 
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


วิเคราะห์ต้นมอสส์ Moss Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX วิเคราะห์ต้นมอสส์ Moss  เชิงคุณภาพ Qualitative Analysis ณ.ตำแหน่งภาพบน
ตามภาพบนที่กำลังขยาย 750 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง

เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Ca แคลเซียม
,Fe เหล็ก,Mg แมกนีเซียม,Si ซิลิกอน ,Cu ทองแดง,Al อลูมิเนียม,K โปแตสเซียม,
P ฟอสฟอรัส และ S ซัลเฟอร์อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านบน 

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 1 

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 2
 
 
จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เราทราบแล้วว่ามีธาตุอะไรบ้าง แต่ยังไม่ทราบว่า
มีปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ
วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic% 

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ

Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
 Analysed all elements and normalised results.

ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในต้นมอสส์ Moss
ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร
C คาร์บอน 48.42 % ,O ออกซิเจน 47.53 %,Ca แคลเซียม
0.81 %   และ Cu ทองแดง 0.44 % เป็นต้น

 
 การวิเคราะห์ดูการกระจายตัว แบบ Speed Mapping (เชิงคุณภาพ)
ตามภาพล่างเราจะเช็ค การกระจายตัวของธาตุ ตามตำแหน่งทั้งหมดที่เห็นตามภาพ


จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากเราเลือกใช้วิเคราะห์ทั้งภาพ(Area) 
ไม่ได้เลือกใช้วิธียิงเป็นจุด (Point) ทำให้ผลที่ได้คือผลที่ได้ทั้งหมดที่เราเห็นตามภาพ ถ้า 
เราจะใช้วิธีการยิงเป็นจุด เพือจะให้ทราบตำแหน่งธาตุก็ได้ แต่อาจจะต้องยิงหลายจุด จะมีวิธี
การหาตำแหน่งของธาตุแบบรวดเร็ว ดูการกระจายตัว เช็คเพสที่เรียกว่า Mapping ตามผล 

ด้านล่างเราก็จะทราบ ตำแหน่งแต่ละธาตุว่าอยู่ส่วนใหนของตัวอย่างได้

การอ่านผล ยกตัวอย่างตรงตำแหน่งภาพช่อง Si เราพบว่าตรงตำแหน่งสีสว่างมากตาม
ภาพเป็นสีขาวจะมี Si มากรองลงมาสีฟ้า น้ำเงินมีปริมาณน้อยมาก ส่วนสีดำไม่มี Si
บทความที่เกี่ยวข้องและการดูผล : การทำ Mapping แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คลิกค่ะ

*** ภาพแสดงในเว็บขนาด 580x355 ส่วนภาพจริงจะมีขนาด 1024x420



*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

********************************************************************* 
moss,moss analysis,มอสส์,วิเคราะห์มอสส์

สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด