วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557

แพลงก์ตอน plankton

แพลงก์ตอน plankton
 
ขอบคุณข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 
แพลงก์ตอน (อังกฤษplankton) มาจากคำว่า πλανκτος ("planktos") ในภาษากรีกแปลว่าwanderer หรือผู้ท่องเที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย คือสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ที่ล่อง
ลอยไปตามกระแสน้ำ ไม่สามารถว่ายน้ำไปยังทิศทางที่ต้องการอย่างอิสระ

ประเภทของแพลงก์ตอน

  1. แพลงก์ตอนพืช (อังกฤษPhytoplankton มาจากคำว่า phyton ในภาษากรีก
    แปลว่าพืช
    ) คือ น้ำสีเขียว แพลงก์ตอนเป็นพืชเซลล์เดียว เป็นสาหร่ายชนิดหนึ่ง 
    พวกนี้สามารถสร้างอาหารเองได้ คือสาหร่ายต่างๆ เช่น ไดอะตอม และสาหร่าย
    เปลวไฟ ในน้ำทุกชนิดมีแพลงก์ตอนชนิดนี้อาศัยอยู่
  2. แพลงตอนสัตว์ (อังกฤษZooplankton มาจากคำว่า zoon ในภาษากรีกแปลว่า
    สัตว์
     ) คือโพรทิสต์พวกโพรโทซัว แมงกะพรุน หวีวุ้น ตัวอ่อนของสัตว์หลายชนิด 
    เช่น กุ้ง ปู กั้ง หอย ปลาบางชนิด น้ำแดง พวกจุลินทรีย์ พวกบาซิลัสเป็นต้น
บทความนี้เราจะนำ แพลงก์ตอน plankton น้ำจืดมาถ่ายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์ฯ SEM
เราจะเตรียมแพลงก์ตอน plankton  สำหรับการถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯSEM 
กัน โดยเราจะนำแพลงก์ตอน plankton มาฉาบเคลือบทองคำ 99.99% กันก่อนด้วยเครื่อง 
Sputter coater เพื่อให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ ก่อนเข้ากล้อง SEM เพื่อถ่ายภาพในโหมด 
High Vacuum (HV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ SEI

มาดูภาพที่ได้จากการถ่ายแพลงก์ตอน plankton ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯกัน
ตามภาพล่างเป็นภาพ แพลงก์ตอน plankton 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 3500 เท่า สเกล 5 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.005 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพล่างเป็นภาพ แพลงก์ตอน plankton 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 5000 เท่า สเกล 5 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.005 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพล่างเป็นภาพ แพลงก์ตอน plankton 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1500 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพล่างเป็นภาพ แพลงก์ตอน plankton 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 5000 เท่า สเกล 5 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.005 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพล่างเป็นภาพ แพลงก์ตอน plankton 
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 10000 เท่า สเกล 1 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.001 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


 
ติดตามภาพถ่ายสวยๆตัวอย่างหลากหลายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM ได้ใหม่
ทาง Do SEM 


*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
แพลงก์ตอน,plankton,แพลงก์ตอนทะเล,แพลงก์ตอนน้ำจืด,ชีววิทยา,จุลชีววิทยา

 
สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์

Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด
 

วันศุกร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2557

ภาพตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section

ภาพตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section

บทความนี้เราจะนำเส้นผมของคนเรา มาตัดเพื่อศึกษาทางกายภาพด้านตัดขวาง และ
ศึกษาหาองค์ประกอบธาตุที่อยู่บนผิว และบนผิวพื้นที่ตัดขวาง ของเส้นผม 
เราจะเตรียมเส้นผม สำหรับการถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯSEM กัน 2แบบครับ
แบบแรก ตัวอย่างเส้นผม เราจะนำมาฉาบเคลือบทองคำ 99.99% กันก่อนด้วยเครื่อง
Sputter coater เพื่อให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ ก่อนเข้ากล้อง SEM เพื่อถ่ายภาพในโหมด
High Vacuum (HV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ SEI

ตามภาพล่างเป็นภาพ ตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 750 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

 

ตามภาพล่างเป็นภาพ ตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 750 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



แบบที่สอง ตัวอย่างเส้นผม เราไม่ต้องเตรียมตัวอย่างเส้นผมให้ยุ่งเหมือนแบบแรก คือไม่ต้อง
ฉาบตัวอย่างด้วยทองให้นำไฟฟ้าก่อน ตัดมาก็นำเข้าเครื่อง SEM ได้เลย เพื่อถ่ายภาพในโหมด
Low Vacuum (LV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ BEI COMPO

ตามภาพล่างเป็นภาพ ตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 750 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


วิเคราะห์เส้นผม Hair Cross Section Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX 
วิเคราะห์เส้นผม Hair Cross Section เชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 

ตามภาพบนที่กำลังขยาย 750 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง


บทความที่เกี่ยวข้อง 
วิเคราะห์เส้นผม เส้นขน ด้วยเครื่องจุลทรรศน์อิเล็กฯ SEM/EDS คลิก

กราฟเชิงคุณภาพเส้นผม Hair Cross Sectionตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x750
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Al อลูมิเนียม, Zn สังกะสี
,Fr แฟรนเซียม, Rb รูบิเดียม ,Nb ไนโอเบียม ,Al อลูมิเนียม และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่
ที่เราวิเคราะห์ตามภาพด้านบน 


จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เราทราบแล้วว่ามีธาตุอะไรบ้าง แต่ยังไม่ทราบว่า
มีปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ

วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic% 

บทความที่เกี่ยวข้อง 

ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ
Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
 Analysed all elements and normalised results.

ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอใน
บริเวณผิวด้านนอก และผิวตัดขวาง
  ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร
C คาร์บอน 65.39 % ,O ออกซิเจน 26.34 %,Al อลูมิเนียม 0.14 %  และ Cu
ทองแดง 1.41 % เป็นต้น



การวิเคราะห์ดูการกระจายตัว แบบ Speed Mapping (เชิงคุณภาพ) 
จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากเราเลือกใช้วิเคราะห์ทั้งภาพ(Area) 
ไม่ได้เลือกใช้วิธียิงเป็นจุด (Point) ทำให้ผลที่ได้คือผลที่ได้ทั้งหมดที่เราเห็นตามภาพ ถ้า  

เราจะใช้วิธีการยิงเป็นจุด เพือจะให้ทราบตำแหน่งธาตุก็ได้ แต่อาจจะต้องยิงหลายจุด จะมีวิธี
การหาตำแหน่งของธาตุแบบรวดเร็ว ดูการกระจายตัว เช็คเพสที่เรียกว่า Mapping ตามผล  

ด้านล่างเราก็จะทราบ ตำแหน่งแต่ละธาตุว่าอยู่ส่วนใหนของตัวอย่างได้

ตามภาพล่างนี้ที่กำลัง x750 เราจะมาดูการกระจายตัวด้วยการทำ Mapping
การอ่านผล ยกตัวอย่างตรงตำแหน่งภาพช่อง Nb ไนโอเบียม เราพบว่าตรงตำแหน่งสีสว่างมากตาม 
ภาพเป็นสีเหลืองจะมี Nb ไนโอเบียม มากรองลงมาสีเขียว สีฟ้า น้ำเงินมีปริมาณน้อยมาก ส่วนสีดำ
ไม่มี Nb ไนโอเบียม 

บทความที่เกี่ยวข้องและการดูผล : การทำ Mapping แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คลิกค่ะ
*** ภาพแสดงในเว็บขนาด 580x355 ส่วนภาพจริงจะมีขนาด 1024x520


ตามภาพล่างเป็นภาพ ตัดขวางของเส้นผม Hair Cross Section
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1500 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


วิเคราะห์เส้นผม Hair Cross Section Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS/EDX 
วิเคราะห์เส้นผม Hair Cross Section เชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 

ตามภาพบนที่กำลังขยาย 1500 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง

บทความที่เกี่ยวข้อง 
วิเคราะห์เส้นผม เส้นขน ด้วยเครื่องจุลทรรศน์อิเล็กฯ SEM/EDS คลิก

กราฟเชิงคุณภาพเส้นผม Hair Cross Sectionตามตำแน่งภาพวิเคราะห์ กำลังขยาย x1500
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน, S ซัลเฟอร์, Zn สังกะสี
และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ ที่เราวิเคราะห์ตามภาพด้านบน 
วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic% 

บทความที่เกี่ยวข้อง 

ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ
Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
 Analysed all elements and normalised results.

ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในผิวตัดขวางเส้นผม
ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร
C คาร์บอน 73.01 % ,O ออกซิเจน 18.89 %,S ซัลเฟอร์ 4.43 %  และ Cu
ทองแดง 2.15 % เป็นต้น

การวิเคราะห์ดูการกระจายตัว แบบ Speed Mapping (เชิงคุณภาพ) 
จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากเราเลือกใช้วิเคราะห์ทั้งภาพ(Area)  
ไม่ได้เลือกใช้วิธียิงเป็นจุด (Point) ทำให้ผลที่ได้คือผลที่ได้ทั้งหมดที่เราเห็นตามภาพ ถ้า  
เราจะใช้วิธีการยิงเป็นจุด เพือจะให้ทราบตำแหน่งธาตุก็ได้ แต่อาจจะต้องยิงหลายจุด จะมีวิธี
การหาตำแหน่งของธาตุแบบรวดเร็ว ดูการกระจายตัว เช็คเพสที่เรียกว่า Mapping ตามผล  
ด้านล่างเราก็จะทราบ ตำแหน่งแต่ละธาตุว่าอยู่ส่วนใหนของตัวอย่างได้

ตามภาพล่างนี้ที่กำลัง x750 เราจะมาดูการกระจายตัวด้วยการทำ Mapping
การอ่านผล ยกตัวอย่างตรงตำแหน่งภาพช่อง C คาร์บอน เราพบว่าตรงตำแหน่งสีสว่างมากตาม 
ภาพเป็นสีเหลืองจะมี C คาร์บอน มากรองลงมาสีเขียว สีฟ้า น้ำเงินมีปริมาณน้อยมาก ส่วนสีดำ
ไม่มี C คาร์บอน

บทความที่เกี่ยวข้องและการดูผล : การทำ Mapping แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คลิกค่ะ
*** ภาพแสดงในเว็บขนาด 580x355 ส่วนภาพจริงจะมีขนาด 1024x520


บทความที่เกี่ยวข้อง 

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
Hair,hair cross section,ภาพเส้นผม,เส้นผมแนวตัดขวาง,วิเคราะห์เส้นผม,Hair analysis


สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด


วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557

ผีเสื้อ,ปีกผีเสื้อ,butterfly

ปีกผีเสื้อ Butterfly

มาดูภาพถ่ายของปีกผีเสื้อ Butterfly ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯSEM กันครับ
โดยตัวอย่างปีกผีเสื้อ Butterfly เราจะนำมาฉาบเคลือบทองคำ 99.99%
กันก่อนด้วยเครื่อง Sputter coater เพื่อให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ ก่อนเข้ากล้อง SEM
เพื่อถ่าย
ภาพในโหมด High Vacuum (HV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ SEI


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 350 เท่า สเกล 50 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

ตามภาพล่างที่เป็นลักษณะเป็นก้อน ที่เกาะติดกับปีก ผู้ถ่ายไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร จะเป็นPollen
หรือเปล่าผู้ถ่ายไม่แน่ใจ รอผู้รู้มาตอบครับ


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 5,000 เท่า สเกล 5 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.005 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 10,000 เท่า สเกล 1 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.001 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


และเราจะถ่ายปีกผีเสื้อ Butterfly แบบไม่ฉาบทอง จะถ่ายแบบตัวอย่างไม่นำไฟฟ้า
ในโหมด Low Vacuum (LV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ BEI COMPO

ตามภาพล่างเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 35 เท่า สเกล 500 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

ตามภาพล่างที่เป็นลักษณะเป็นก้อน ที่เกาะติดกับปีก ผู้ถ่ายไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร จะเป็นPollen
หรือเปล่าผู้ถ่ายไม่แน่ใจ รอผู้รู้มาตอบครับ


ตามภาพล่างเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

ตามภาพล่างที่เป็นลักษณะเป็นก้อน ที่เกาะติดกับปีก ผู้ถ่ายไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร จะเป็นPollen
หรือเปล่าผู้ถ่ายไม่แน่ใจ รอผู้รู้มาตอบครับ


ตามภาพล่างเป็นภาพ ปีกผีเสื้อ Butterfly
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด Low vacuum (ความเป็นสูญญากาศต่ำ) ภาพแบบ BEI COMPO
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com
ตามภาพล่างที่เป็นลักษณะเป็นก้อน ที่เกาะติดกับปีก ผู้ถ่ายไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร จะเป็นPollen
หรือเปล่าผู้ถ่ายไม่แน่ใจ รอผู้รู้มาตอบครับ


ติดตามภาพถ่ายสวยๆตัวอย่างหลากหลายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM ได้ใหม่
ทาง Do SEM 

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
ผีเสื้อ,ปีกผีเสื้อ,butterfly


สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด