วันอาทิตย์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

น้ำตาลทราย (Granulated Sugar)

น้ำตาลทราย (Granulated Sugar) 

น้ำตาลทราย (Granulated Sugar) หรือน้ำตาลทรายขาว เป็นน้ำตาลที่เราพบเห็นและใช้ประจำ 
ลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีขาว นิยมนำไปใช้ในการทำอาหารต่างๆ

เราจะนำเม็ดน้ำตาล มาลองถ่ายภาพที่กำลังขยายสูง ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM ดู
ว่าลักษณะทางกายภาพจะเป็นอย่างไร


ตัวอย่างเม็ดน้ำตาลที่นำมาถ่าย จะเป็นลักษณะเม็ดดังภาพ


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 50 เท่า สเกล 500 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.5 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 200 เท่า สเกล 100 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเม็ดน้ำตาล
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 15kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
นำตัวอย่างฉาบเคลือบด้วยทองคำ 99.99% เพื่อให้นำไฟฟ้าได้ก่อนถ่ายภาพ
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ติดตามภาพถ่ายสวยๆตัวอย่างหลากหลายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM ได้ใหม่
ทาง Do SEM 

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
น้ำตาล,เม็ดน้ำตาล,น้ำตาลทราย,sugar

สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด


วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Pollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช

Pollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช

มาดูภาพถ่ายของPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืชด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ
SEM กันครับ

โดยตัวอย่างPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืชเราจะนำมาฉาบเคลือบทองคำ 99.99%
กันก่อนด้วยเครื่อง Sputter coater เพื่อให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ ก่อนเข้ากล้อง SEM เพื่อถ่าย
ภาพในโหมด High Vacuum (HV SEM) ได้ ภาพออกมาเป็นแบบ SEI 



ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1,500 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 350 เท่า สเกล 50 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com





ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 2,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com




ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 5,000 เท่า สเกล 5 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.005 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 1,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 2,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 2,000 เท่า สเกล 10 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.01 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

ตามภาพเป็นภาพPollen ละอองเกสร เรณู ดอกไม้ ดอกพืช
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 10kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 10,000 เท่า สเกล 1 um (ไมโครเมตร) หรือ 0.001 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ติดตามภาพถ่ายสวยๆตัวอย่างหลากหลายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM ได้ใหม่
ทาง Do SEM 

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
Pollen, ละอองเกสร, เรณูดอกไม้, เรณูดอกพืช


สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

เหรียญสิบ,เหรียญกษาปณ์,เงินเหรียญ,Coin,Thai Coin,วิเคราะห์เหรียญ,Coin analysis

วิเคราะห์เหรียญกษาปณ์ เหรียญสิบบาท ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนฯ SEM
และเครื่องวิเคราะห์ธาตุ EDS
เคยสงสัยกันไหมว่าเหรียญกษาปณ์ ที่เราใช้กันอยู่ทำมาจากวัสดุใดกัน และมีส่วนผสมอะไร
บ้างและเท่าไร

บทความนี้ เราจะนำเหรียญกษาปณ์ ขนาดสิบบาทมาวิเคราะห์ ซึ่งเหรียญนี้จะมีสองสี วงนอก
ออกสีเงิน ส่วนวงในออกสีทองเหลือง ซึ่งเราจะได้มาวิเคราะห์กัน เหรียญที่นำมาเป็นเหรียญ
เก่าผ่านการใช้งานมานาน การวิเคราะห์ธาตุจะได้ค่าเชิงปริมาณต่างจากเหรียญใหม่เล็กน้อย

เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน (Circulated coins) 



เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มี 9 ชนิดราคา คือ 10 บาท,
5 บาท, 2 บาท, 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ 1 สตางค์
แต่ที่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ 10 บาท, 5 บาท, 2 บาท, 1 บาท,
50 สตางค์, 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์, 5 สตางค์ และ1 สตางค์ มีใช้ใน
ทางบัญชีเท่านั้น

ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาดสิบบาท ด้านหน้า



ลักษณะเหรียญกษาปณ์ ขนาดสิบบาท ด้านหลัง



ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com


ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 15 เท่า สเกล 1 mm (มิลลิเมตร)
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง บริเวณรอยต่อวงในและวงนอก
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงใน(สีทองเหลือง)
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



วิเคราะห์เหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงใน Coin Analysis ด้วยเครื่องวิเคราะห์ธาตุ
EDS/EDX 
วิเคราะห์เหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงในเชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 

ตามภาพบนที่กำลังขยาย 500 เท่าเราจะวิเคราะห์ด้านเชิงคุณภาพ ทั้งภาพที่แสดง
ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ จะได้ผลเป็นกราฟเชิงคุณภาพเหมือนภาพล่าง

เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Al อลูมิเนียม
,Si ซิลิกอน,Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านบน

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 1 ตำแน่งภาพด้านบน


จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เราทราบแล้วว่ามีธาตุอะไรบ้าง แต่ยังไม่ทราบว่า
มีปริมาณธาตุใดๆอยู่เท่าไร เราจะมาวิเคราะห์เชิงปริมาณกันต่อ
วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ Qualitative Analysis การวิเคราะห์เชิงปริมาณ เราจะได้ค่าเป็น Element % หรือเรียกอีกชื่อ Wt% (weight %)
หรืออีกชื่อ Con% (concentration%) และ Atomic% 

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

ตามภาพล่างจะวิเคราะห์เชิงปริมาณแบบ
Quantitative method: ZAF ( 4 iterations).
 Analysed all elements and normalised results.

ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในเหรียญสิบด้านหลัง
บริเวณผิววงใน
  ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร 

C คาร์บอน 5.83 % ,O ออกซิเจน 7.53 %,Al อลูมิเนียม5.36 %  ,Si ซิลิกอน 0.17 %
Ni นิเกิล 2.22% และ Cu ทองแดง 78.89 %


เชิงปริมาณ ในรูปแบบกราฟ


ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงนอกสีเงิน
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



วิเคราะห์เหรียญสิบด้านหลัง บริเวณผิววงนอกเชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Si ซิลิกอน,
Ni นิเกิล และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านบน
จะไม่มี Al อลูมิเนียม เหมือนเหรียญวงด้านใน

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 1 ตำแน่งภาพด้านบน


ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในเหรียญสิบด้านหลัง 
บริเวณผิววงนอก
  ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร 

C คาร์บอน 6.02 % ,O ออกซิเจน 3.15 % ,Si ซิลิกอน 0.13 % Ni นิเกิล 23.94%
 และ Cu ทองแดง 66.76 %


เชิงปริมาณ ในรูปแบบกราฟ


ตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง บริเวณรอยต่อระหว่างวงในและวงนอก
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 100 เท่า สเกล 100 um (ไมครอน ) หรือ 0.1 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com

เรามาวิเคราะห์ช่วงรอยเชื่อมระหว่างวงในวงนอกกันต่อค่ะตามภาพเป็นภาพเหรียญสิบด้านหลัง บริเวณรอยต่อระหว่างวงในและวงนอก
ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคปแบบส่องกราด SEM ที่ 20kv (กิโลโวลท์) 
กำลังขยาย x 500 เท่า สเกล 50 um (ไมครอน ) หรือ 0.05 มิลลิเมตร
ถ่ายในโหมด High vacuum (ความเป็นสูญญากาศสูง) ภาพแบบ SEI
ถ่ายโดย www.dosem24hr.com



วิเคราะห์เหรียญสิบด้านหลัง บริเวณรอยต่อเชื่อมเชิงคุณภาพ Qualitative Analysis 
เราจะได้ผลว่ามีองค์ประกอบธาตุหรือสาร C คาร์บอน,O ออกซิเจน,Si ซิลิกอน,
,Ca แคลเซียม,,Cl ครอรีน,Fe เหล็ก ,Mg แมกนีเซียม, K โปรแตสเซียม,Ni นิเกิล
Mo โมลิดินั่ม ,Al อลูมิเนียม และ Cu ทองแดง อยู่บนพื้นที่ที่เราวิเคราะห์ ตามภาพด้านบน

บทความที่เกี่ยวข้อง : วิเคราะห์ธาตุเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพด้วย EDS,EDX คลิก

กราฟเชิงคุณภาพแบบที่ 1 ตำแน่งภาพด้านบน



ตามผลด้านล่างเราจะวิเคราะห์ธาตุทั้งหมด ที่ตรวจพบเจอในเหรียญสิบด้านหลัง
บริเวณรอยต่อแนวเชื่อมของเหรียญ
  

ซึ่งเราจะได้องค์ประกอบธาตุหรือสาร 
C คาร์บอน 29.38 % ,O ออกซิเจน 52.00 % ,Si ซิลิกอน 6.93 % Ni นิเกิล 1.46%
 และอื่นๆตามผลล่าง
เชิงปริมาณ ในรูปแบบกราฟ



การวิเคราะห์ดูการกระจายตัว แบบ Speed Mapping (เชิงคุณภาพ) 
จากผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากเราเลือกใช้วิเคราะห์ทั้งภาพ(Area) 
ไม่ได้เลือกใช้วิธียิงเป็นจุด (Point) ทำให้ผลที่ได้คือผลที่ได้ทั้งหมดที่เราเห็นตามภาพ ถ้า  

เราจะใช้วิธีการยิงเป็นจุด เพือจะให้ทราบตำแหน่งธาตุก็ได้ แต่อาจจะต้องยิงหลายจุด จะมีวิธี
การหาตำแหน่งของธาตุแบบรวดเร็ว ดูการกระจายตัว เช็คเพสที่เรียกว่า Mapping ตามผล  

ด้านล่างเราก็จะทราบ ตำแหน่งแต่ละธาตุว่าอยู่ส่วนใหนของตัวอย่างได้

ตามภาพล่างนี้ที่กำลัง x100 เราจะมาดูการกระจายตัวด้วยการทำ Mapping


การอ่านผล ยกตัวอย่างตรงตำแหน่งภาพช่อง O ออกซิเจน เราพบว่าตรงตำแหน่งสีสว่างมากตาม 
ภาพเป็นสีเหลืองจะมี O ออกซิเจน มากรองลงมาสีเขียว สีฟ้า น้ำเงินมีปริมาณน้อยมาก ส่วนสีดำ
ไม่มี O ออกซิเจน 

และบริเวณรอยต่อเราจะพบว่ามีช่อง Si,O,Mg,Al,Ca,C ที่จะมีสีสว่างมาก
บทความที่เกี่ยวข้องและการดูผล : การทำ Mapping แบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คลิกค่ะ
*** ภาพแสดงในเว็บขนาด 580x355 ส่วนภาพจริงจะมีขนาด 1024x520


ติดตามการวิเคราะห์ เหรียญ 25,50 สตางค์ 1,2,5 บาทกันต่ออีก 1บทความนะค่ะเร็วๆนี้

*********************************************************************
สุดท้ายขอขอบคุณ Do SEM ที่เปิดพื้นที่ให้ มากๆครับ ติดตามบทความต่อๆไปนะครับ
น้อมรับทุกคำชี้แนะครับ Mr.Golf (สิงห์เฒ่าซ่อมเซ็ม) manatsanan2007@hotmail.com 
หรือมาพบปะพูดคุยได้ตามประสาได้ที่ BigC จ.สุรินทร์ (แอร์ฟรี 555 จริงๆนะครับ) หรือมา 
ติดตามเป็นเพื่อนผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ฝากคำถามได้ ตามลิงค์ด้านล่างเลยครับ
http://www.facebook.com/JeolOxfordInstruments?ref=hl 

*********************************************************************  
เหรียญสิบ,เหรียญกษาปณ์,เงินเหรียญ,Coin,Thai Coin,วิเคราะห์เหรียญ,Coin analysis


สถานที่ให้และรับบริการ SEM,EDS : ใกล้ฟิวเจอร์รังสิต และดรีมเวิลด์
Do SEM บริการเครื่อง SEM กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนไมโครสโคป แบบส่องกราด